Saturday, August 15, 2015

สร้างแบรนด์ใหม่ชื่อเอาถ่าน owtarn‬ ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงจ่าสมบัติ อำเภอหันคา

ผศ.ประชิด ทิณบุตร และคณะผู้วิจัยลงพื้นที่วิจัยที่ชัยนาท วิจัยวิทยาแบบให้ชุมชนได้มีส่วนร่วม (Community Based participatory Research : CBPR) โดยให้ผู้เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียได้ร่วมให้ข้อมูล และร่วมตัดสินใจคัดเลือกผลงานโดยวิธีการประชุมสนทนากลุ่ม(Focus Groups) ในการตัดสินใจในผลงานการออกแบบพัฒนา ผลงานออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ใหม่ ของวิสาหกิจชุมชนกองทุนเพื่อการเกษตรชุมชนบ้านแหลมทอง ตำบลหนองแซง อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท สร้างแบรนด์ใหม่ชื่อเอาถ่าน owtarn‬ ณ ศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงจ่าสมบัติ โดยการบรรยาย นำเสนอแนะแนวทางการพัฒนาต่อยอดการสร้างสรรค์คุณภาพผลิตภัณฑ์ จากถ่านอัดแท่ง การร่วมวิพากษ์ การสาธิตและร่วมผลิตก้อนถ่านอัดมือ การร่วมแสดงความคิดเห็นแบบสนทนากลุ่มย่อย และส่งมอบชุดทดลองตลาดให้ไปดำเนินการต่อยอดทางธุรกิจที่เข้มแข็งและพึงพาตนเองได้ต่อไป 6-8-2558

ทีมงานวิจัย
ผศ.ประชิด ทิณบุตร หัวหน้าโครงการวิจัย
นายธีระชัย สุขสวัสดิ์ ผู้ร่วมวิจัย
นายอดิสรณ์ สมนึกแท่น ผู้ร่วมวิจัย
นายคณาศักดิ์ พงษ์พาลี ผู้ช่วยวิจัย (ศิษย์เก่า)
นายดนุนัย พลศรี นักศึกษาช่วยงานวิจัย ชั้นปีที่ 4
นางสาวบุญญานุช วิชาชัย นักศึกษาช่วยงานวิจัย ชั้นปีที่ 4
สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กทม.



Brand and Packaging Design : Community Based participatory Research : CBPR

ผศ.ประชิด ทิณบุตร และคณะผู้วิจัยลงพื้นที่วิจัยที่ชัยนาท วิจัยวิทยาแบบให้ชุมชนได้มีส่วนร่วม (Community Based participatory Research : CBPR) โดยให้ผู้เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียได้ร่วมให้ข้อมูล และร่วมตัดสินใจคัดเลือกผลงานโดยวิธีการประชุมสนทนากลุ่ม(Focus Groups) ในการตัดสินใจในผลงานการออกแบบพัฒนา ผลงานออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ใหม่ ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทำสมุนไพรและศิลปะประดิษฐ์ บ้านคลองมอญ อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท สร้างแบรนด์ใหม่ชื่อ Klongmorn Herb โดยการ บรรยาย นำเสนอแนะแนวทางการพัฒนาต่อยอดการสร้างสรรค์คุณภาพผลิตภัณฑ์ การร่วมวิพากษ์ การสาธิตและร่วมผลิตสบู่สมุนไพร การร่วมแสดงความคิดเห็นแบบสนทนากลุ่มย่อย และส่งมอบชุดทดลองตลาดให้ไปดำเนินการต่อยอดทางธุรกิจที่เข้มแข็งและพึงพาตนเองได้ต่อไป 6-8-2558

ทีมงานวิจัย
ผศ.ประชิด ทิณบุตร หัวหน้าโครงการวิจัย
นายธีระชัย สุขสวัสดิ์ ผู้ร่วมวิจัย
นายอดิสรณ์ สมนึกแท่น ผู้ร่วมวิจัย
นายคณาศักดิ์ พงษ์พาลี ผู้ช่วยวิจัย (ศิษย์เก่า)
นายดนุนัย พลศรี นักศึกษาช่วยงานวิจัย ชั้นปีที่ 4
นางสาวบุญญานุช วิชาชัย นักศึกษาช่วยงานวิจัย ชั้นปีที่ 4
สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กทม.





ผศ.ประชิด ทิณบุตร และคณะผู้วิจัยลงพื้นที่วิจัยที่ชัยนาท วิสาหกิจชุมชนกลุ่มธูปหอมอินทร์มงคล ตำบลหาดท่าเสา





ผศ.ประชิด ทิณบุตร และคณะผู้วิจัยลงพื้นที่วิจัยที่ชัยนาท วิจัยวิทยาแบบให้ชุมชนได้มีส่วนร่วม (Community Based participatory Research : CBPR) โดยให้ผู้เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียได้ร่วมให้ข้อมูล และร่วมตัดสินใจคัดเลือกผลงานโดยวิธีการประชุมสนทนากลุ่ม(Focus Groups) ในการตัดสินใจในผลงานการออกแบบพัฒนา ผลงานออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ใหม่ ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มธูปหอมอินทร์มงคล บ้านมะพลับดก อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท ออกแบบแบรนด์ใหม่ชื่อ อินทร์มงคล โดยการ บรรยาย นำเสนอแนะแนวทางการพัฒนาต่อยอดการสร้างสรรค์คุณภาพผลิตภัณฑ์ การร่วมวิพากษ์ การร่วมแสดงความคิดเห็นแบบสนทนากลุ่มย่อย และส่งมอบชุดทดลองตลาดให้ไปดำเนินการต่อยอดทางธุรกิจที่เข้มแข็งและพึงพาตนเองได้ต่อไป 6-8-2558 ทีมงานวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร หัวหน้าโครงการวิจัย ผู้ร่วมวิจัย 1.นายธีระชัย สุขสวัสดิ์ 2.นายอดิสรณ์ สมนึกแท่น ผู้ช่วยวิจัย นายคณาศักดิ์พงษ์พาลี นักศึกษาช่วยงานวิจัย นายดนุนัย พลศรี นางสาวบุญญานุช วิชาชัย สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ผศ.ประชิด ทิณบุตร และคณะผู้วิจัยลงพื้นที่วิจัยที่ชัยนาท วิสาหกิจชุมชนสวนสารพัดดีเพื่อสุขภาพ บ้านหัวทองพัฒนา อำเภอหันคา



ผศ.ประชิด ทิณบุตร และคณะผู้วิจัยลงพื้นที่วิจัยที่ชัยนาท วิจัยวิทยาแบบให้ชุมชนได้มีส่วนร่วม (Community Based participatory Research : CBPR) โดยให้ผู้เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียได้ร่วมให้ข้อมูล และร่วมตัดสินใจคัดเลือกผลงานโดยวิธีการประชุมสนทนากลุ่ม(Focus Groups) ในการตัดสินใจในผลงานการออกแบบพัฒนา ผลงานออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ใหม่ ของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนสวนสารพัดดีเพื่อสุขภาพ บ้านหัวทองพัฒนา อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท สร้างแบรนด์ใหม่ชื่อ สารพัดดี โดยการ บรรยาย นำเสนอแนะแนวทางการพัฒนาต่อยอดการสร้างสรรค์คุณภาพผลิตภัณฑ์ การร่วมวิพากษ์ การสาธิตทำสบู่สมุนไพร การร่วมแสดงความคิดเห็นแบบสนทนากลุ่มย่อย และส่งมอบชุดทดลองตลาดให้ไปดำเนินการต่อยอดทางธุรกิจที่เข้มแข็งและพึงพาตนเองได้ต่อไป 5 - 8 - 2558 คณะผู้วิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร หัวหน้าโครงการวิจัย ผู้ร่วมวิจัย 1.นายธีระชัย สุขสวัสดิ์ 2.นายอดิสรณ์ สมนึกแท่น ผู้ช่วยวิจัย นายคณาศักดิ์พงษ์พาลี สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ผศ.ประชิด ทิณบุตร และทีมงานวิจัยลงพื้นที่วิจัย วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสระไม้แดง อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท



ผศ.ประชิด ทิณบุตร และทีมงานวิจัยลงพื้นที่วิจัยที่ชัยนาท วิจัยออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ แบบให้ชุมชนได้มีส่วนร่วม (Community Based participatory Research : CBPR) โดยให้ผู้เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียได้ร่วมให้ข้อมูล และร่วมตัดสินใจคัดเลือกผลงานโดยวิธีการประชุมสนทนากลุ่ม(Focus Groups) ในการตัดสินใจในผลงานการออกแบบพัฒนา ผลงานออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ใหม่ ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสระไม้แดง อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท สร้างแบรนด์ใหม่ชื่อ แม่อ๊๊ดสมุนไพร สรรคบุรี โดยการ บรรยาย นำเสนอแนะแนวทางการพัฒนา ต่อยอดการสร้างสรรค์คุณภาพผลิตภัณฑ์ การร่วมวิพากษ์ การสาธิตและปฏิบัติการทำสบู่สมุนไพร การร่วมแสดงความคิดเห็นแบบสนทนากลุ่มย่อย และส่งมอบชุดทดลองตลาดให้ไปดำเนินการต่อยอดทางธุรกิจที่เข้มแข็งและพึงพาตนเองได้ต่อไป 5-8-2558 คณะผู้วิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร หัวหน้าโครงการวิจัย ผู้ร่วมวิจัย 1.นายธีระชัย สุขสวัสดิ์ 2.นายอดิสรณ์ สมนึกแท่น ผู้ช่วยวิจัย นายคณาศักดิ์พงษ์พาลี สาขาวิชาศิลปกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

Community Based participatory Research : CBPR วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรปลูกถั่วดาวอินคา บ้านบ่อม่วง อำเภอเนินขาม

ผศ.ประชิด ทิณบุตร ลงพื้นที่วิจัยที่ชัยนาท วิจัยวิทยาแบบให้ชุมชนได้มีส่วนร่วม (Community Based participatory Research : CBPR) โดยให้ผู้เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียได้ร่วมให้ข้อมูล และร่วมตัดสินใจคัดเลือกผลงานโดยวิธีการประชุมสนทนากลุ่ม (Focus Groups) ในการตัดสินใจในผลงานการออกแบบพัฒนา ผลงานออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ใหม่ ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรกรปลูกถั่วดาวอินคา บ้านบ่อม่วง อำเภอเนินขาม สร้างแบรนด์ใหม่ชื่อ ชะชาเฮิร์บ โดยการ บรรยาย นำเสนอแนะแนวทางการพัฒนาต่อยอดการสร้างสรรค์คุณภาพผลิตภัณฑ์ การร่วมวิพากษ์ การสาธิต การร่วมแสดงความคิดเห็นแบบสนทนากลุ่มย่อย และส่งมอบชุดทดลองตลาดให้ไปดำเนินการต่อยอดทางธุรกิจที่เข้มแข็งและพึงพาตนเองได้ต่อไป 4-8-2558


คณะผู้วิจัย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประชิด ทิณบุตร หัวหน้าโครงการวิจัย ผู้ร่วมวิจัย 1.นายธีระชัย สุขสวัสดิ์ 2.นายอดิสรณ์ สมนึกแท่น ผู้ช่วยวิจัย นายคณาศักดิ์พงษ์พาลี นักศึกษาช่วยงานวิจัย นายดนุนัย พลศรี นางสาวบุญญานุช วิชาชัย สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กทม.พ.ศ.2558.

Friday, August 14, 2015

Siwattra Carbon ผศ.ประชิด ทิณบุตร ลงพื้นที่วิจัยที่ชัยนาท วิจัยวิทยาแบบให้ชุมชนได้มีส่วนร่วม (Community Based participatory Research : CBPR)

siwattra carbon ผศ.ประชิด ทิณบุตร ลงพื้นที่วิจัยที่ชัยนาท วิจัยวิทยาแบบให้ชุมชนได้มีส่วนร่วม (Community Based participatory Research : CBPR) โดยให้ผู้เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียได้ร่วมให้ข้อมูล และร่วมตัดสินใจคัดเลือกผลงานโดยวิธีการประชุมสนทนากลุ่ม(Focus Groups) ในการตัดสินใจในผลงานการออกแบบพัฒนา ผลงานออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ใหม่ ของผู้ประกอบการศิวัตราคาร์บอน บ้านท่าศิลา อำเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท สร้างแบรนด์ใหม่ชื่อ ศิวตรา โดยการ บรรยาย นำเสนอแนะแนวทางการพัฒนาต่อยอดการสร้างสรรค์คุณภาพผลิตภัณฑ์ การร่วมวิพากษ์ การสาธิต การร่วมแสดงความคิดเห็นแบบสนทนากลุ่มย่อย และส่งมอบชุดทดลองตลาดให้ไปดำเนินการต่อยอดทางธุรกิจที่เข้มแข็งและพึงพาตนเองได้ต่อไป 30-7-2558



Monday, August 10, 2015

ผศ.ประชิด ทิณบุตร ลงพื้นที่วิจัยที่ชัยนาท วิจัยวิทยาแบบให้ชุมชนได้มีส่วนร่วม (Community Based participatory Research : CBPR)

ผศ.ประชิด ทิณบุตร ลงพื้นที่วิจัยที่ชัยนาท วิจัยวิทยาแบบให้ชุมชนได้มีส่วนร่วม (Community Based participatory Research : CBPR) โดยให้ผู้เกี่ยวข้องและมีส่วนได้ส่วนเสียได้ร่วมให้ข้อมูล และร่วมตัดสินใจคัดเลือกผลงานโดยวิธีการประชุมสนทนากลุ่ม(Focus Groups) ในการตัดสินใจในผลงานการออกแบบพัฒนา ผลงานออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์ใหม่ ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มสมุนไพรบ้านโรงวัว อำเภอเมืองชัยนาท สร้างแบรนด์ใหม่ชื่อ ชัยนารถเฮิร์บ ใช้ชื่อพ้องเสียงของจังหวัดเพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่สื่อสารถึงจังหวัดชัยนาท โดยการ บรรยาย นำเสนอแนะแนวทางการพัฒนาต่อยอดการสร้างสรรค์คุณภาพผลิตภัณฑ์ การร่วมวิพากษ์ การสาธิต การร่วมแสดงความคิดเห็นแบบสนทนากลุ่มย่อย และส่งมอบชุดทดลองตลาดให้ไปดำเนินการต่อยอดทางธุรกิจที่เข้มแข็งและพึงพาตนเองได้ต่อไป 31-7-2558